การศึกษาไทย

อวสานการปิดเทอม เมื่อแนวคิดใหม่จาก สพฐ. กำลังมา

อวสานการปิดเทอม เมื่อแนวคิดใหม่จาก สพฐ. กำลังมา

               เรื่องของความไม่ลงตัวในระบบการศึกษานับว่ามีมานานเหลือเกินแล้ว ผ่านไปกี่ยุคกี่สมัยก็แก้ไม่หายสักที ซึ่งก็ไม่รู้ว่าเป็นด้วยสาเหตุใด แต่ส่วนหนึ่งคงเป็นเพราะความไม่เข้าใจกันระหว่างผู้กำหนดกฎเกณฑ์กับผู้เรียนจริงๆ นั่นเอง อย่างล่าสุดก็มีกระแสเปลี่ยนแปลงช่วงเวลาของการ อวสานการปิดเทอม โดยไอเดียนี้มาจากสพฐ. ที่มองว่าอยากจะปรับแนวทางการศึกษาให้ดีขึ้น เลยมองว่าให้เด็กได้เรียนยาวรวดเดียว 8 เดือนไปเลย จากนั้นค่อยพักกันทีเดียว 4 เดือนเต็ม นโยบายแบบใหม่ สพฐ. อวสานการปิดเทอม                ถึงแม้ว่าตอนนี้เรื่อง อวสานการปิดเทอม นโยบายแบบใหม่จะยังไม่ได้มีผลบังคับใช้อะไร แต่ก็มีหลายกระแสวิพากษ์วิจารณ์กันพอสมควร เพราะการหยุดพักช่วงเรียนแบบเดิม คือมีปิดภาคการเรียนย่อยและปิดภาคการเรียนใหญ่ มันทำให้เด็กได้ผ่อนคลายแล้วออกไปใช้ชีวิตเพื่อทำกิจกรรมอย่างอื่นบ้าง ไม่ใช่ว่าตั้งหน้าตั้งตาเรียนกันอย่างเดียว แต่แบบเดิมก็มีปัญหาตรงที่บางโรงเรียนไม่สามารถสอนเนื้อหาให้จบทันเวลาได้ เด็กม.6 หลายคนยังไม่ได้เรียนเนื้อหาบทท้ายๆ ก่อนสอบเข้ามหาวิทยาลัยด้วยซ้ำ                ทางผู้ใหญ่และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจึงมองว่า การปิดเทอมที่รวบเป็นครั้งเดียวใน 1 ปี น่าจะทำให้การเรียนรู้ของเด็กๆ ต่อเนื่องมากกว่า การเก็บเนื้อหาก็คงครบถ้วนได้ และหากมันเรียนไม่ทัน ทางโรงเรียนก็สามารถต่อเวลาในช่วงหยุดได้เล็กน้อย ซึ่งหากมองเทียบกับความเป็นจริงแล้ว นโยบาย อวสานการปิดเทอม นี้ดูจะไม่ตอบโจทย์เท่าไร เพราะมันเป็นการคิดมุมเดียวเท่านั้น คือให้ความสำคัญกับการเก็บเนื้อหาให้ครบไป                ทั้งที่ความจริงมันไม่ใช่ประเด็นนั้นโดยตรง…

การรัฐประหาร ในประเทศไทย

การเมือง เป็นเรื่องของทุกคน! แต่ทำไมประเทศไทยไม่ควรทำ “การรัฐประหาร”

สวัสดีผู้อ่านที่น่ารักทุกๆท่านทุกๆคน  ในบทความนี้จะเป็นการนำเสนอมากกว่าที่จะโจมตีเพื่อสร้างความขัดแย้งใดๆ แน่นอนว่าการเมืองไม่ใช่เรื่องของใครคนใดคนหนึ่ง  แต่มันเป็นเรื่องของทุกคนที่ต้องสร้างความตระหนัก  และให้ทุกคนตระหนักเรื่องการทำรัฐประหาร  ซึ่งเคยได้ยินมาบ้างแล้วกับการศึกษาไทย  จากที่ศึกษามาหลายแหล่งข่าวรวมทั้งสถานการณ์ปัจจุบันจะขอแยกเป็นข้อๆ ว่าทำไมประเทศไทย ไม่ควรทำ การรัฐประหาร เหตุผลที่ ประเทศไทยไม่ควรทำ การรัฐประหาร 1.ความเหลื่อมล้ำทางสังคมจะหนาขึ้น ประเทศไทยยังไม่สามารถแก้ปัญหาความยากจนของประชาชนได้ในระยะยาว  จากการศึกษาในแต่ละแหล่งข่าว  พบว่าการทำรัฐประหาร นำมาซึ่งการคอรัปชั่นเพิ่มขึ้น  มิใช่แค่เรื่องการเมืองเท่านั้น  แต่การช่วยเหลือคนที่เข้าถึงได้ยาก  การศึกษาของเยาวชนที่ควรจะได้รับและเนื้อหาที่ทันสมัยจะเข้าไม่ถึง  รวมทั้งเงินช่วยเหลือเยียวยาจะไม่ถึงมือจนต้องระดมทุนบริจาคกันมากขึ้น  ซึ่งภาระหน้าที่นั้นควรเป็นหน้าที่ของภาครัฐที่ควรรับผิดชอบมากกว่ารับผิดชอบกันเอง 2.การศึกษาในไทยจะถอยหลังลงคลองมากขึ้น จะเห็นได้ว่าประเทศไทยของเรามีค่าเฉลี่ยการศึกษาในอันดับที่ไม่ดีเท่าใดนัก  การที่ทำ การรัฐประหาร  ทำให้การศึกษาไทยไม่ได้รับการใส่ใจเท่าที่ควร  (พูดง่ายๆ คือการศึกษาไทยล้าหลัง  ไม่สามารถพัฒนาประเทศชาติให้ดีขึ้น)  เนื้อหาการเรียนการสอนไม่ทันสมัย  ขาดการอัปเดตความรู้เนื้อหาที่เหมาะสมในแต่ละช่วงวัยและช่วงปี  และขาดจิตวิทยาในเด็กที่เหมาะสม  จนทำให้สังคมขาดความตระหนักในเรื่องความรู้ต่อเด็กและเยาวชน  จริยธรรมที่ควรรับมือในยุคการเปลี่ยนแปลง  รวมทั้งเน้นเรียนเพื่อไปสอบมากกว่าเรียนเพื่อเสริมทักษะชีวิต  ทำให้เด็กได้รับการศึกษาแบบขาดๆ เกินๆ ไม่ได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐอย่างเต็มที่นัก 3.ตลาดหุ้นติดลบ หากใครเข้าใจการศึกษาในหลักการเศรษฐศาสตร์  การที่ทำ การรัฐประหาร ส่งผลต่อตลาดหุ้นติดลบ  ซึ่งเป็นภาพรวมที่ไม่ดีนัก  นั่นแปลว่าเศรษฐกิจไทยจะตกต่ำลง  และจะรุนแรงกว่าวิกฤตต้มยำกุ้งในปี  2540  ผลของการทำรัฐประหารนั้นทำให้ความเชื่อมั่นต่อนักลงทุนน้อยลง …

ปัญหาล้าหลังของการศึกษาไทย ที่ส่งผลกระทบ ต่อเด็กในประเทศไทย

ปัญหาล้าหลังของการศึกษาไทย ที่ส่งผลกระทบ ต่อเด็กในประเทศไทย

            ปัญหาล้าหลังของการศึกษาไทย ที่ผ่านมา ผู้ที่เกี่ยวข้องในการศึกษามีความพยายามในการปฏิรูปมาแล้วหลายครั้ง แต่ไม่ได้มีการปฏิรูปหรือแก้ปัญหาอย่างแท้จริง มีเพียงแค่รูปแบบเท่านั้น ไม่ได้เน้นที่เนื้อหา ทั้งที่งบประมาณการศึกษาของไทย เมื่อเทียบสัดส่วนจีดีพีแล้ว มีค่าสูงกว่าหลายๆ ประเทศ แต่ส่วนใหญ่เป็นการนำงบประมาณการศึกษาไปจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ เทคโนโลยี เช่น คอมพิวเตอร์ ให้แก่โรงเรียนที่ขาดแคลนสื่อในการเรียน การสอน เท่านั้น ปัญหาล้าหลังของการศึกษาไทย ที่มีเพิ่มขึ้น                ในปี พ.ศ. 2561 มีการเปิดเผยสถิติบุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนในกรุงเทพมหานคร สังกัด กทม. พบว่า มีนักเรียน จำนวน 23,000 คน จากจำนวนนักเรียนทั้งหมด 170,000 คน ที่มีปัญหาในด้านการอ่านหนังสือ ซึ่งปัญหาการอ่านหนังสือนั้น เกิดจากการที่ระบบการศึกษาไทยไม่ได้สอนให้คิดวิเคราะห์ แต่เน้นการเรียนแบบท่องจำและกวดวิชา ทำให้เด็กไม่เข้าใจเนื้อหาและไม่สามารถตอบคำถามเชิงวิเคราะห์ได้                จากผลสถิติทำให้ทราบ ปัญหาล้าหลังของการศึกษาไทย เพิ่มมากขึ้น พบว่า มีอยู่ 3 อันดับที่เด็กไทยได้รับผลกระทบ นั่นคือ 1.…

ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา การศึกษาที่ไม่เท่าเทียมกันของไทย ในปัจจุบัน

ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา การศึกษาที่ไม่เท่าเทียมกันของไทย ในปัจจุบัน

               เด็กๆทุกคนจะต้องได้รับการศึกษาที่เท่าเทียมกัน แต่ในปัจจุบันนั้นเรามักจะเห็นถึง ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ความแตกต่างระหว่างโรงเรียนนอกเมืองและโรงเรียนในเมืองอย่างชัดเจน ซึ่งเป็นปัญหาที่ใหญ่ในประเทศก็ว่าได้ การศึกษาในประเทศไทยนั้นมีข้อกำหนดหรือกฎหมายให้ศึกษาในขั้นพื้นฐานคือระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 แต่ในปัจจุบันเด็กจำนวนมากที่ไม่ได้เข้าถึงการศึกษาเลยแม้แต่น้อย สาเหตุจากหลายประการ เช่น ฐานะทางบ้าน ค่าใช้จ่ายไม่เพียงพอ ขาดโอกาสในการศึกษา อยู่ไกลจากพื้นที่การศึกษา เป็นต้น ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาในปัจจุบันของประเทศไทย                ในประเทศที่พัฒนาแล้วการศึกษาในทุกพื้นที่จะมีความเท่าเทียมกัน โดยในขั้นพื้นฐานนั้น จะมีประสิทธิภาพและคุณภาพของการศึกษา แต่ถ้าหากต้องการสิ่งที่อำนวยความสะดวกที่มากกว่าก็อาจจะอยู่ในส่วนของโรงเรียนสังกัดเอกชน แต่โดยพื้นฐานแล้วการศึกษานั้น จะต้องมีคุณภาพและประสิทธิภาพมากพอที่จะทำให้เด็กๆมีความรู้ ความสามารถและสามารถนำความรู้ ความสามารถเหล่านั้นไปใช้ชีวิตในอนาคตได้ดี ซึ่งแตกต่างอย่างมากกับในประเทศไทย ที่ในแต่ละพื้นที่ แต่ละโรงเรียนจะเห็นได้ว่ามี ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา มีการเรียนการสอนที่ไม่เท่าเทียมกัน เช่น หนังสือเรียน อุปกรณ์การเรียน คอมพิวเตอร์ สื่อการเรียนต่างๆ เป็นต้น บางโรงเรียนมีสิ่งอำนวยความสะดวกที่เพียงพอต่อจำนวนนักเรียนทุกคน ทำให้เด็กๆสามารถเรียนรู้ได้อย่างเต็มที่และสามารถเข้าใจในสิ่งต่างๆได้โดยไม่จำกัด แต่ในบางโรงเรียนสิ่งอำนวยความสะดวกบางประการไม่เพียงพอหรือบางครั้งอาจจะไม่มีเลยก็ว่าได้ ซึ่งทำให้เด็กๆไม่สามารถเรียนรู้ได้ เช่น คอมพิวเตอร์ ในปัจจุบันเป็นสิ่งที่สำคัญมาก เพราะโลกได้เปลี่ยนแปลงไปในทางเทคโนโลยีมากขึ้น โรงเรียนในเมืองอาจจะมีจำนวนของคอมพิวเตอร์ที่เพียงพอต่อจำนวนนักเรียนทุกคน แต่ในโรงเรียนนอกเมืองนั้น ไม่เพียงพอเลย บางครั้งคอมพิวเตอร์จำนวน 1…

รู้เรื่อง การศึกษาไทย 4.0 ว่าจะมีทิศทางแนวโน้ม ในทิศทางที่ดีหรือถอยหลัง

รู้เรื่อง การศึกษาไทย 4.0 ว่าจะมีทิศทางแนวโน้ม ในทิศทางที่ดีหรือถอยหลัง

               เป็นคำถามของหลายๆคนว่า การศึกษาไทย 4.0 จะเดินไปในทิศทางใด จะลดลงหรือด้อยคุณภาพ มันเกิดอะไรขึ้นในยุคนี้ ที่เราควรจะต้องรู้ ไม่ว่าจะเป็นปัญหาของครูที่สอนแบบไม่ครบสาระวิชา ความรู้อาจจะมีความล้าสมัยอย่างรวดเร็ว และไม่มีประโยชน์ ส่วนหลายคนที่ต้องการรู้ว่าประเทศไทย มีระบบการศึกษาที่ดีที่สุดนั้นจะทำอย่างไร จะต้องทำอะไรที่ถูกต้องตลอดระยะเวลาในศตวรรษที่ 20 การศึกษานั้น เป็นเรื่องน่าเศร้าเพราะโลกของนอกโรงเรียนที่เปลี่ยนแปลงขึ้นอย่างรวดเร็ว โลกแห่งความคุ้นเคยจากความเชี่ยวชาญในระบบการศึกษา อาจจะใช้ไม่ได้ ต้องอาศัยทักษะแห่งโลกอนาคต การเตรียมหลักสูตรอย่างเดียวคงไม่พอแน่สำหรับนักเรียนนักศึกษาในยุคอนาคต ทิศทางการศึกษาไทย 4.0 ในยุคปัจจุบัน                หลายคนบอกว่าการศึกษาของไทยในบ้านเรา ค่อนข้างจะเปลี่ยนไปจากเมื่อก่อน มีการแบ่งสังคมมากกว่าแบ่งเรื่องของความถนัดของเด็ก ปัจจุบันก็จะเห็นว่าอาชีพมากมายมากกว่าครึ่ง ไม่ได้มีการเรียนอยู่ในหนังสือ ทำให้มองเห็นว่าในอนาคตข้างหน้าเด็ก ก็จะเรียนรู้ได้เอง ซึ่งโลกได้เปลี่ยนไปหมดแล้ว การเรียนรู้ของเด็กก็จะเปลี่ยนไปด้วยเช่นเดียวกัน                ส่วนคำถามคือพ่อแม่จะต้องปรับตัวอย่างไรใน การศึกษาของไทยสิ่งที่ชัดเจนที่สุดก็คือควรจะเปิดประตูให้พวกเขาได้สัมผัสและได้ก้าวเข้าสู่โลกอนาคต ซึ่งถึงเวลาแล้วที่พ่อแม่ไม่ควรปิดกั้นลูกของตนเอง และพยายามให้เด็กๆได้เรียนรู้เพื่อเตรียมความพร้อมกับการตัดสินใจของตนเอง                จากสถิติ การศึกษาไทย 4.0 ในปัจจุบัน ที่นักวิจัยบอกว่าเป็นความล้าหลัง โดยพบว่านักเรียนทั้งหมด 175,000 คน เฉพาะในกรุงเทพฯมีนักเรียนทั้งหมด 23,000…

เหตุผลที่ต้องเรียนภาษาไทย ที่เราควรรู้

3 เหตุผลที่ต้องเรียนภาษาไทย บอกเลยว่าสำคัญในเรื่องของชีวิตประจำวันมาก ๆ

            หากจะพูดถึงการศึกษา ในเรื่องของภาษาไทยเป็นภาษาที่เรานั้นเรียนรู้ได้ตลอดเวลา บอกเลยว่าเป็นเรื่องที่มีความละเอียดอ่อนและเป็นเรื่องที่เราทุกคนนั้นควรที่จะให้ความสำคัญ วันนี้แอดอยากที่จะมาแนะนำ 3 เหตุผลที่ต้องเรียนภาษาไทย บอกเลยว่าสำคัญในเรื่องของชีวิตประจำวันมาก ๆ คลายข้อสงสัยเหตุผลที่ต้องเรียนภาษาไทย เหตุผลที่ต้องเรียนภาษาไทย ที่บอกเลยว่าสำคัญและเราควรทราบ เหตุผลแรกที่แอดอยากจะมาแนะนำ คือ ภาษาไทยเป็นภาษาที่เรานั้นใช้ในชีวิตประจำวัน บอกเลยว่าเป็นเรื่องสำคัญเพราะเราใช้ภาษาไทยทั้งในการพูด การอ่าน และการเขียน ใช้ในการสื่อสารในชีวิตประจำ การศึกษาภาษาไทยจึงเป็นเรื่องที่เรานั้นก็ไม่ควรมองข้าม เหตุผลที่ต้องเรียนภาษาไทย ที่บอกเลยว่าสำคัญและเราควรทราบ เหตุผลที่สองที่แอดอยากจะมาแนะนำ คือ ภาษาไทยเป็นวัฒนธรรมของชาติ ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญเพราะได้รับการสือบทอดกันมาอย่างยาวนาน และเรื่องของภาษาก็มีความเป็นมาอย่างยาวนานและมีทั้งในส่วนของ วรรณกรรมต่าง ๆ ให้เรานั้นได้ศึกษาอีกด้วย เหตุผลที่ต้องเรียนภาษาไทย ที่บอกเลยว่าสำคัญและเราควรทราบ เหตุผลที่สามที่แอดอยากจะมาแนะนำ คือ ภาษาไทยฝึกให้เรานั้นมีความละเอียดและมีความรอบคอบมากขึ้น ซึ่งภาษาไทยเป็นภาษาที่ว่าด้วยเรื่องของคำที่มีการเขียนที่คล้ายกันแต่ความหมายมีความแต่กต่างกัน การที่เราได้ศึกษาก็เป็นเรื่องที่ดีกับเราเอง             ทั้งหมดก็เป็น เหตุผลที่ต้องเรียนภาษาไทย ในบางส่วนที่เรานั้นควรศึกษาภาษาไทย บอกเลยว่าสำคัญกับเราทุกคนมาก ในเรื่องของการศึกษาที่ใกล้ตัวและได้ใช้งานจริงในชีวิต ติดตามบทความ การศีกษาไทย เคล็ดลับการสอบ เคล็ดลับการอ่านหนังสือ ข่าวการศึกษา ได้ที่นี้ วิชาภาษาไทยหนึ่งใน 9 วิชาสามัญ ของการศึกษาในประเทศไทย

เปรียบเทียบ ความแตกต่างระหว่าง การศึกษาไทยกับต่างประเทศ แบบชัดแจ้ง

เปรียบเทียบ ความแตกต่างระหว่าง การศึกษาไทยกับต่างประเทศ แบบชัดแจ้ง

          อยากรู้จังเลย ว่าการศึกษาของแต่ละประเทศจะเหมือนกันไหม ? และการศึกษาของแต่ละประเทศจะเป็นอย่างไร แต่ละประเทศมุ่งเน้นไปทางไหน ? อยากลองไปเรียนที่ต่างประเทศบ้างจังต้องทำอย่างไรดี วันนี้เรามีคำตอบมาให้ กับการเปรียบเทียบ ความแตกต่างระหว่าง การศึกษาไทยกับต่างประเทศ แบบชัดแจ้ง ที่แอดจะมาบรรยายให้เห็นกันชัดๆเลยว่า การศึกษาของประเทศไทย ของเรานั้น แตกต่างกับการศึกษาของต่างประเทศอย่างไร และ แตกต่างกันที่ตรงไหนบ้าง เช่น เวลาการเรียน เนื้อหาการเรียน การศึกษาค้นคว้า วันนี้ เราจะได้ทราบถึง การศึกษาไทย และ การศึกษาต่างประเทศ ว่าทั้ง 2 แตกต่างกันอย่างไร ความแตกต่างระหว่างการศึกษาไทยกับต่างประเทศ เวลาในการเรียน – ความแตกต่างระหว่างการศึกษาไทยกับต่างประเทศ เรื่องเวลาเรียนในแต่ละวัน เวลาของแต่ละประเทศจะไม่เท่ากันอยู่แล้ว เนื่องจากเวลาโลกอีกทวีปนึง (กรณีทางยุโรป) แต่ ถ้าพูดถึงระยะเวลาที่ใช้ในการเรียนของแต่ละวัน การศึกษาของประเทศไทยใช้เวลาใน 1 วัน เฉลี่ย 7-8 ชั่วโมงในการเรียน แต่การศึกษาของต่างประเทศใช้ในการเรียนเฉลี่ยเพียงวันละ 3-5 ชั่วโมงเท่านั้น…