Month: July 2021

วิชาที่อยากให้มีในหลักสูตร ของเด็กไทย

วิชาที่อยากให้มีในหลักสูตร ส่องความคิดเห็นของเด็กไทย อยากให้มีวิชาอะไร

ไม่ว่าจะผ่านไปกี่ยุคกี่สมัย การศึกษาของเด็กไทยก็ยังดูเป็นปัญหาไม่จบสิ้น ยิ่งในยุคที่สังคมเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ก็ยิ่งเห็นช่องโหว่ของการศึกษามากขึ้น หลักสูตรดั้งเดิมที่มีอยู่เริ่มส่งสัญญาณชัดเจนแล้วว่าไม่ตอบโจทย์ผู้เรียน จึงต่อยอดมาที่ประเด็นร้อนในวงการการศึกษา ว่าควรจะมีการปรับเปลี่ยนเนื้อหาที่เด็กต้องเรียนหรือไม่ วิชาไหนที่ไม่ค่อยได้นำมาใช้ก็ควรตัดออกไป และมี วิชาที่อยากให้มีในหลักสูตร ในปัจจุบัน ที่จำเป็นมากกว่า มาส่องความคิดเห็นของเด็กไทย อยากให้มีวิชาอะไร วิชาที่อยากให้มีในหลักสูตร ที่เด็กไทยอยากได้ ในปัจจุบัน ในมุมของผู้ใหญ่ที่เกี่ยวข้องเราคงไม่พูดถึง เพราะการตัดสินใจบางอย่างก็อาจจะมีข้อจำกัดอยู่ไม่น้อย และการเปลี่ยนแปลงสิ่งที่มีมานานก็คงไม่อาจทำได้ในระยะเวลาอันสั้น สิ่งที่น่าสนใจกว่าจึงเป็นความคิดเห็นของเด็กๆ เกี่ยวกับวิชาที่อยากให้มีในหลักสูตร พร้อมกับเหตุผลว่าทำไมถึงต้องการเรียนรู้วิชาเหล่านั้น ถือว่าเป็นการเปิดมุมมองของผู้เรียนจริงๆ ซึ่งถ้ามีคนรับฟังและหาทางให้มันเกิดขึ้นได้ ก็คงเป็นประโยชน์ต่อรุ่นลูกรุ่นหลานไม่น้อยเลย วิชาแรกที่เด็กส่วนใหญ่วิชาที่อยากให้มีในหลักสูตร และต้องยกมาพูดเป็นอันดับแรกก็คือวิชาการเงิน ไม่ว่าจะเป็นการออม การลงทุน หรือการบริหารเงินอย่างง่าย ผู้ใหญ่ทุกคนเข้าใจดีว่าองค์ความรู้เรื่องนี้สำคัญขนาดไหน มันจะสร้างความมั่นคงและความก้าวหน้าในชีวิตได้ ซึ่งคงจะดีมากถ้าได้เรียนรู้ตั้งแต่เด็ก วิชาต่อมาเป็นการเสริมสร้างความคิดในเชิงธุรกิจ คือการฝึกให้เด็กได้คิดในมุมมองของผู้ประกอบการ และมองโลกของอาชีพกว้างกว่ามาพยายามเข้าเป็นลูกจ้างในบริษัทดีๆ วิชาที่อยากให้มีในหลักสูตร ไม่ได้จำกัดแค่เรื่องเกี่ยวกับการใช้ชีวิตในอนาคตเท่านั้น เด็กหลายคนต้องการวิชาป้องกันตัว เพราะคิดว่าสังคมสมัยนี้อันตราย คงจะดีกว่าถ้าพวกเขามีพื้นฐานเอาตัวรอดเล็กๆ น้อยๆ และที่เด็ดสุดก็คือวิชาเพศสัมพันธ์ที่สอนเกี่ยวกับเรื่องเพศอย่างละเอียด ในเมื่อพวกเขาใกล้ชิดกับเรื่องนี้ได้ง่าย ทางออกที่ดีที่สุดจึงเป็นการทำความเข้าใจเรื่องนี้อย่างถูกต้อง โดยไม่จำเป็นต้องไปหาประสบการณ์เองแบบลองผิดลองถูก หากคุณกำลังมองหา เว็บไซต์ที่รวบเรื่องราว การศึกษาและความรู้ kor-kai.com ที่นี่มีข้อมูลเกี่ยวกับการศึกษาและความรู้ที่ความหลากหลาย และครบถ้วน สำหรับคุณแล้ว…

มุมมองต่างๆ เกี่ยวกับ เด็กหลังห้อง

เด็กหลังห้อง นักเรียนหลังห้อง แค่นั่งหลังห้อง ใช่ว่าไม่รักเรียน

ภายในรั้วโรงเรียนมีเรื่องราวมากกว่าแค่ศึกษาหาความรู้ และเด็กทุกคนต้องก้าวผ่านจุดนั้นมาให้ได้ หากใครมีครอบครัวที่เข้าใจก็ถือว่าได้เปรียบหน่อย แต่ถ้าต้องแก้ปัญหาด้วยตัวเองลำพัง นี่ก็นับว่าหนักหนาพอสมควร อย่างกรณีของ เด็กหลังห้อง ที่มักจะได้รับการปฏิบัติแบบ 2 มาตรฐานเสมอ ซึ่งตรงนี้ทำให้หลายคนเปลี่ยนจากเด็กที่สนใจเรียนเป็นคนที่มีทัศนคติไม่ดีเกี่ยวกับการเรียนไปเลย ยิ่งกว่านั้นคือ บางทีครูผู้สอนก็ไม่รู้ตัวด้วยว่าสิ่งที่ทำนั้นกำลังบั่นทอนนักเรียนของตัวเองอยู่ มุมมองต่างๆ เกี่ยวกับ เด็กหลังห้อง ก่อนอื่นอยากให้ฟังมุมมองของเด็กหลังห้องกันก่อนว่า ทำไมเขาถึงอยากไปนั่งด้านหลัง แทนที่จะเป็นแถวหน้าเหมือนเด็กเรียนคนอื่นๆ มากกว่า 80 เปอร์เซ็นต์ของเด็กที่เลือกนั่งด้านหลัง มักจะมีเหตุผลอื่นที่นอกเหนือไปจากเรื่องเรียน เช่น เป็นเด็กตัวสูงและชอบให้มีพื้นที่ข้างหลังกว้างหน่อย อยากมองเห็นบรรยากาศมุมกว้างภายในห้อง ต้องการความเป็นส่วนตัวบ้างในบางเวลา ที่นั่งด้านหลังใกล้กับหน้าต่างหรือประตูที่ทำให้รู้สึกสบายกว่า เป็นต้น แต่ในมุมมองของผู้สอนบางคน จะเพ่งเล็งว่าเด็กหลังห้องคือเด็กที่ไม่ตั้งใจเรียน และไม่ค่อยให้ความร่วมมือระหว่างที่ทำการสอน จะมีเพียงเด็กที่นั่งแถวหน้าๆ เท่านั้นที่ถามตอบอย่างสม่ำเสมอ เมื่อมีความคิดแบบนี้เป็นทุนเดิม เวลาที่แสดงออกจึงมีความแตกต่างอย่างชัดเจน ทั้งเรื่องท่าทาง น้ำเสียง และการตัดสินใจ เด็กบางคนเคยมีประสบการณ์มาสายด้วยเหตุผลบางอย่าง แต่กลับถูกไล่ออกจากห้องเพียงเพราะเขานั่งด้านหลัง และครูก็เลือกจะมองว่าเขาไม่เต็มใจมาเรียน แน่นอนว่าเด็กหลังห้องที่ไม่ชอบเรียนก็มีเหมือนกัน แต่ถ้าสังเกตดูดีๆ เด็กทุกคนจะมีวิชาที่ตัวเองชื่นชอบอยู่เสมอ ที่เขาไม่ชอบเรียนก็อาจจะเป็นเพราะเนื้อหาหรือรูปแบบการสอนที่เขาเข้าไม่ถึง เรื่องนี้ไม่ใช่เรื่องที่ต้องมาตัดสินว่าผิดหรือถูก เป็นเด็กดีหรือไม่ดี ที่สำคัญคือต้องไม่มีการตัดสินไปล่วงหน้าว่าเด็กที่นั่งด้านหลังคือเด็กไม่ตั้งใจเรียนด้วย kor-kai.com แหล่งรวมความรู้…

วิธีแก้ไขปัญหา ทำโจทย์ไม่ได้

ทำโจทย์ไม่ได้ ทั้งๆ ที่อ่านหนังสือ จนจบบทแล้ว มีวิธีแก้ไขยังไงดี?

ถ้าจะแนะนำเด็กที่ไม่สามารถทำคะแนนในรายวิชาใดวิชาหนึ่งได้ดีพอ ด้วยการบอกให้ขยันมากขึ้น ทั้งเรื่องเรียนในห้องและการอ่านหนังสือเพิ่มเติมด้วยตัวเอง ก็ต้องแย้งว่าบางคนได้ทำอย่างเต็มที่แล้วจริงๆ แต่ก็ยัง ทำโจทย์ไม่ได้ อยู่ดี ไม่ใช่เพราะพวกเขาไม่ขยัน แต่อาจเป็นเพราะวิธีการแก้ไขยังไม่เหมาะสมกับพวกเขามากพอ ดังนั้นแทนที่จะทุ่มเทอ่านหนังสือและทำโจทย์แบบเดิม ควรลองเปลี่ยนแนวทางในการพัฒนาตัวเองดูดีกว่า วิธีการแก้ไข ปัญหาอ่านหนังสือจนจบบทแล้วแต่ ทำโจทย์ไม่ได้ อย่างแรกคือให้วิเคราะห์ตัวเองว่าเราเข้าใจเนื้อหามากแค่ไหน การอ่านหนังสือจบบทที่ต้องการแล้วทำโจทย์ไม่ได้ มันก็มีเหตุผลอยู่ 2 อย่าง คือเราอ่านแล้วแต่ไม่ได้ทำความเข้าใจ เพียงแค่อ่านให้จบไปเท่านั้นเอง หรือเราเข้าใจทุกส่วนดีพอ แต่โจทย์ที่มีไม่สอดคล้องกับเนื้อหา อันนี้ก็มีให้เห็นบ้างกับหนังสือบางเล่ม คือสอนอย่างหนึ่งแต่เวลาเอาโจทย์มาให้ลองทำกลับเป็นโจทย์ประยุกต์ที่ต้องใช้ความรู้อื่นเพิ่มเติม แบบนี้จะทำไม่ได้ก็เป็นเรื่องปกติ ต่อมาให้ลองเปลี่ยนหนังสือดูก่อน อ่านเนื้อหาจากเล่มอื่นๆ ในเรื่องเดียวกัน แล้วดูว่ามีอะไรตกหล่นไปบ้าง จากนั้นค่อยกลับมาทำโจทย์อีกครั้ง ถ้าตอนนี้ทำโจทย์ไม่ได้อีก เราต้องหาตัวช่วยเสริม เพราะเราอาจตีความนิยามจากหนังสือได้ไม่ถูกต้องนัก ให้ขอความช่วยเหลือจากเพื่อนร่วมชั้นที่มีความถนัดในวิชานั้นก่อน อาจจะนำโจทย์ที่เราติดปัญหาไปให้เพื่อนลองทำก็ได้ แล้วให้สังเกตขั้นตอนการแก้โจทย์ของเพื่อนว่าแตกต่างกับเราอย่างไร สุดท้ายคือให้อ่านเนื้อหาส่วนอื่นไปเลยโดยไม่ต้องสนใจประเด็นที่ทำโจทย์ไม่ได้ เพราะบางครั้งก็ต้องใช้การผสมผสานเนื้อหาหลายส่วน และเผลอๆ ก็อาจจะต้องใช้องค์ความรู้จากหลายวิชาอีกด้วย เรียกว่าเป็นโจทย์ประเภทบูรณาการนั่นเอง อย่างไรก็ตาม โจทย์ประเภทนี้จะมีในแบบทดสอบท้ายบทเรียนไม่มาก ประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์เท่านั้น หมายความว่าอีก 80 เปอร์เซ็นต์ที่เหลือ…

เรื่อง เรียนไม่ตรงสาย ไม่ใช่ปัญหา

เรียนไม่ตรงสาย ไม่ใช่ปัญหา เพียงแค่เข้าใจตัวเอง ตั้งแต่ต้น

สิ่งที่น่าเสียดายอย่างมากสำหรับเด็กยุคไอที ก็คือพวกเขามีโอกาสในการเข้าถึงข้อมูลมหาศาล จึงไม่ใช่เรื่องยากที่จะค้นหาความชื่นชอบของตัวเองได้ แต่ก็ยังมีเด็กจำนวนไม่น้อยที่ เรียนไม่ตรงสาย ส่วนหนึ่งเป็นเพราะไม่เคยคิดมาก่อนว่าความใฝ่ฝันเกี่ยวกับวิชาชีพในอนาคตคืออะไร อีกส่วนหนึ่งก็คือพ่อแม่มักจะชี้นำและสร้างความกดดันให้กับลูกมากเกินไป จนเขาไม่กล้าที่จะตัดสินใจเลือกทางเดินชีวิตของตัวเอง หมดปัญหา เรียนไม่ตรงสาย แค่เข้าใจตัวเอง เมื่อเรียนไม่ตรงสาย ปัญหาที่ตามมาก็คือความตึงเครียด สิ่งที่เป็นความถนัดไม่ได้นำออกมาใช้ แต่กลับต้องพยายามทำในสิ่งที่ตัวเองยังไม่แน่ใจว่าจะดีจริงหรือไม่ ดังนั้นการทำความเข้าใจตัวเองอย่างละเอียด ก่อนที่จะตัดสินใจเลือกเรียนอะไรจึงสำคัญมาก จำไว้เสมอว่าการเลือกเรียนตามเพื่อนนั้นไม่ใช่แนวทางที่ดี และการทำตามความพอใจของพ่อแม่ก็ไม่ดีเช่นเดียวกัน หากเราไม่ได้เห็นว่าสิ่งที่จะเลือกนั้นตอบโจทย์ในใจเราจริงๆ วิธีการค้นหาตัวเองแบบง่ายๆ ให้เริ่มจากการตั้งคำถามให้ตรงจุดเสียก่อน ถ้าเราเรียนไม่ตรงสายจะเสียอะไรไปบ้าง กิจกรรมที่เรารักจะมีเวลาทำมันน้อยลงไหม ชีวิตวัยเรียนจะมีความสนุกอย่างที่มันควรจะเป็นหรือไม่ เมื่อเรามองเห็นข้อเสียทั้งหมดแล้ว มันจะเกิดแรงผลักดันให้เรามุ่งมั่นไปตามความฝันโดยอัตโนมัติ จากนั้นก็ลองสังเกตจากคำพูดของคนรอบข้าง มีอะไรบ้างที่เขาบอกว่าเราทำได้ดี และมีอะไรบ้างที่คนอื่นมักจะขอความช่วยเหลือจากเรา นั่นแหละคือสิ่งที่เป็นเหมือนพรสวรรค์ติดตัวมา คนที่เลือกเรียนไม่ตรงสาย ไม่ใช่ว่าเขาไม่มีความถนัดในเรื่องไหนเลย แต่เป็นเพราะไม่เคยไตร่ตรองถึงความรู้สึกนึกคิดของตัวเองจริงๆ บางคนเขียนนิยายเก่งมาก เวลามีกิจกรรมประกวดในโรงเรียนก็มักจะได้รางวัลเสมอ แบบนี้ก็ชัดเจนว่าควรจะเรียนทางด้านภาษาหรือศิลปะศาสตร์มากกว่า อย่างไรก็ตาม ถ้าในวันนี้ลองถามตัวเองแล้วยังไม่ได้คำตอบ ก็ไม่ใช่เรื่องที่ต้องกังวลใจ เพราะการค้นหาตัวเองจำเป็นต้องใช้เวลาเหมือนกัน แหล่งให้ข้อมูล เกี่ยวกับ การศึกษาและความรู้ kor-kai.com ที่นี่มีข้อมูลดีๆ ที่มีความรู้ที่หลากหลาย และครบถ้วน สำหรับคุณ และถ้าถ้าคุณกำลังมองหาเกมออนไลน์ เล่นเพื่อคลายสมอง ufabet1688 ที่นี่ ก็มีเกมออนไลน์…

เกมตัวช่วย สมาธิในการเรียน ได้ดี

สมาธิในการเรียน สามารถสร้างเสริม ด้วยการเล่นเกมแสนสนุก ในระหว่างเรียนได้

อันที่จริงเรื่องของ สมาธิในการเรียน เป็นสิ่งที่ฝึกกันได้ และธรรมชาติที่ทุกคนเป็นก็ไม่ใช่ว่ามีมาแต่เกิด มันถูกฝึกผ่านการเลี้ยงดูในช่วงที่พวกเราเป็นเด็กต่างหาก ถ้าพ่อแม่สร้างสภาวะแวดล้อมที่เสริมสร้างสมาธิให้แก่เรา เช่น มีห้องทำการบ้านส่วนตัว มีชั่วโมงของการอ่านหนังสือ เล่นเกมที่ต้องใช้การคิดวางแผน เป็นต้น เมื่อโตขึ้นก็จะกลายเป็นคนที่มีสมาธิดี แต่ถ้าตอนเด็กเจอแต่กิจกรรมที่เปลี่ยนแปลงเร็วๆ อยู่ตลอด ส่วนมากก็จะมีสมาธิสั้น เกมแสนสนุก ช่วยเสริมสร้าง สมาธิในการเรียน ได้ ทีนี้เมื่อเรามีสมาธิในการเรียนที่ค่อนข้างสั้น หรือสงบนิ่งได้ไม่นานเพียงพอ จะทำให้เรามีปัญหาในการเรียนรู้และทำความเข้าใจบทเรียน จากที่ควรจะเก็บเกี่ยวรายละเอียดของเนื้อหาได้ 100 เปอร์เซ็นต์ ก็อาจลดเหลือแค่ 40-60 เปอร์เซ็นต์เท่านั้น ทั้งที่เรายังต้องนั่งเรียนด้วยจำนวนชั่วโมงที่เท่ากันกับเพื่อนๆ อยู่ คิดดูแล้วก็รู้สึกเสียเวลาและเสียโอกาสเหมือนกันใช่ไหม อย่างนั้นคงจะดีกว่าถ้าเราสามารถเปลี่ยนตัวเองให้มีสมาธิที่ดีขึ้นได้ เรื่องนี้มีการทดสอบเอาไว้อย่างจริงจัง โดยค้นหาแนวทางในการเสริมสร้างสมาธิในการเรียนกับเด็กช่วงวัยต่างๆ ผลลัพธ์ก็คือการสร้างสมาธินั้นเลือกทำได้หลากหลาย อย่างที่เราได้ยินกันบ่อยก็คือการนั่งสมาธิ กำหนดจิตให้อยู่กับปัจจุบัน การตัดโซเชียลออกไปในช่วงเวลาหนึ่ง การเล่นกีฬาบางชนิดก็ดีต่อการสร้างสมาธิด้วยเช่นกัน แต่สิ่งที่หลายคนรู้สึกชื่นชอบและอยากลองทำมากที่สุด เป็นการเล่นเกมที่ได้ทั้งความสนุกและความเพลิดเพลิน เกมสำหรับเสริมสร้างสมาธิในการเรียนที่ว่านี้ก็ไม่ใช่เกมพิสดารอะไร คนส่วนใหญ่ต้องเคยเล่นมาแล้วทั้งนั้น ตัวอย่างของเกมที่น่าสนใจได้แก่ เกมจับผิดภาพ เกมจับคู่ภาพ เกม Puzzle อย่างง่าย เป็นต้น…

วิธีการปรับตัวของเด็กซิ่ว คือ การทำตัวให้เข้ากับน้องๆ ไม่ทำตัวต่าง

วิธีการปรับตัวของเด็กซิ่ว การเตรียมความพร้อม ที่ต้องกลับไปเรียน ร่วมกับรุ่นน้อง

ไม่ว่าจะเป็นเด็กมัธยมที่เข้ามาเรียนในมหาวิทยาลัยด้วยการสอบเพียงครั้งเดียว หรือเป็นเด็กซิ่วที่ตัดสินใจย้ายคณะหรือย้ายมหาวิทยาลัยเพื่อสิ่งที่ดีกว่า ล้วนมีความท้าทายในการปรับตัวไม่ต่างกัน สำหรับเด็กมัธยมอาจจะมองว่า คนที่เคยมีประสบการณ์มาก่อนนั้นได้เปรียบ ทั้งเรื่องการสอบที่มีโอกาสทำได้คะแนนสูงกว่า และการปรับตัวกับบรรยากาศการเรียนใหม่และเพื่อนกลุ่มใหม่ แต่ความจริงไม่ได้เป็นเช่นนั้นเลย ในวันนี้เราจึงขอแนะนำเกี่ยวกับ วิธีการปรับตัวของเด็กซิ่ว กับเด็กซิ่วทุกๆ เพื่อเตรียมความพร้อมกับการเรียนในภาคเรียนต่อๆไป แนะนำ วิธีการปรับตัวของเด็กซิ่ว เพื่อเตรียมความพร้อม ในการกลับมาเรียนใหม่ เนื่องจากเด็กซิ่วจะต้องกลับมาเรียนกับรุ่นน้องที่ต่างวัยกัน ถึงจะห่างกันแค่ 1-2 ปี แต่ความรู้สึกถึงการเข้ากันได้ยังมีช่องว่างอยู่เสมอ นอกจากคนที่ตัดสินใจย้ายที่เรียนจะต้องเตรียมตัวกับสถานที่และข้อกำหนดใหม่ๆ เช่นเดียวกับคนอื่นแล้ว เขายังต้องพยายามสานสัมพันธ์กับเพื่อนๆ มากกว่าเด็กที่สอบเข้ามาพร้อมกันด้วย หากไม่ได้เป็นคนที่มีบุคลิกร่าเริง และไม่ได้มีมนุษยสัมพันธ์ดีเป็นพื้นฐาน พวกเขาก็จะต้องใช้เวลาอยู่กับกลุ่มเพื่อนให้มาก เพื่อสร้างความคุ้นเคยจึงจำเป็นจะต้องรู้จักกับวิธีการปรับตัวของเด็กซิ่ว นั้นเอง สำหรับเด็กซิ่วที่กำลังมีปัญหา และคิดว่าตัวเองเริ่มเข้ากับสังคมมหาวิทยาลัยไม่ได้ วิธีการปรับตัวของเด็กซิ่ว อยากให้เริ่มจากมองว่าตัวเองไม่ได้ต่างจากเด็กคนอื่น และการเลือกเปลี่ยนสาขาที่เรียนก็ไม่ใช่เรื่องที่น่าอาย ออกจะน่าภูมิใจด้วยซ้ำไป เพราะไม่ใช่ทุกคนที่จะมีความกล้าหาญมากพอที่จะเลือกตามความชื่นชอบ เมื่อไม่รู้สึกผิดกับสิ่งที่ทำแล้ว ก็จะช่วยให้การเข้าสังคมทำได้ง่ายขึ้น ถ้าเป็นคนยิ้มยากก็เตือนตัวเองให้ยิ้มบ่อยๆ หากยิ้มให้คนอื่นก่อนได้ก็จะดีมาก วิธีการปรับตัวของเด็กซิ่วต่อมาคือการใช้ประสบการณ์ของตัวเองให้เป็นประโยชน์ เด็กซิ่วส่วนมากจะรู้ว่าการเตรียมตัวเรียนในแต่ละวิชาเป็นอย่างไร ต้องหาชีทเรียนยังไง ต้องเลือกคลาสที่เรียนแบบไหน ให้แบ่งปันความรู้ตรงนี้ให้กับเพื่อนๆ ทำนองว่าเป็นที่ปรึกษาก็ได้ กรณีนี้จะเหมาะมากกับคนที่พูดไม่ค่อยเก่ง เพราะเพื่อนจะเป็นฝ่ายเข้ามาถามข้อมูลกันเราเอง หน้าที่เราแค่แนะนำแนวทางที่ดีที่สุดไป…

เรียนออนไลน์ ที่บ้านให้เข้าใจ ต้องมีความตั้งใจสูง

เรียนออนไลน์ อยู่ที่บ้าน แล้วไม่รู้เรื่อง เพราะง่วงนอน ตลอดเวลา

ใครว่าการ เรียนออนไลน์ จะทำให้เด็กเรียนได้อย่างประสิทธิภาพมากกว่าเดิม เชื่อเถอะว่าเด็กที่จะเรียนได้ดีขึ้นนั้นจัดเป็นคนกลุ่มน้อยมาก เพราะเวลาที่เราเรียนอยู่บ้าน ระดับความอิสระมันต่างจากตอนอยู่ที่โรงเรียนค่อนข้างเยอะ บรรยากาศและความตั้งใจก็แตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง หากไม่มีการบังคับตัวเองดีพอ สุดท้ายก็จะไม่มีสมาธิเรียน นั่งนานไปก็ง่วงนอนและอาจเผลอหลับในท้ายที่สุด แก้ปัญหา ที่เกิดขึ้นกับการ เรียนออนไลน์ ปัญหานี้แก้ได้ไม่ยากเท่าไร แต่สำหรับบางคนอาจจะเป็นการปรับเปลี่ยนวิถีการเรียนออนไลน์ทั้งหมดไปเลย ถึงจะต้องลงมือทำงานมากน้อย แต่ผลลัพธ์ที่ได้ก็นับว่าคุ้มค่าทีเดียว เริ่มแรกคือการให้ความสำคัญกับพื้นที่ ควรแยกพื้นที่สำหรับการเรียนออกมา ไม่ควรรวมกับห้องนั่งเล่นหรือห้องนอน เนื่องจากบรรยากาศนั้นสบายมากเกินไป และยังมีกลิ่นไอของการพักผ่อนอยู่ตลอดเวลา ไม่มีทางเลยที่เราจะมีสมาธิกับการเรียนแบบต่อเนื่องยาวนานได้ ต่อมาคือการทำทุกอย่างให้เหมือนกับตอนที่เราไปโรงเรียน ถ้าปกติต้องตื่นเช้ามาอาบน้ำทานข้าว ก็แนะนำว่าให้ทำแบบเดิม เป็นการเตรียมความพร้อมทั้งร่างกายและจิตใจก่อนเริ่มเรียนออนไลน์ในแต่ละวัน หรือถ้าใครคุ้นเคยกับการจัดกระเป๋าในช่วงกลางคืน ก็ให้ลองทำคล้ายๆ กับการจัดกระเป๋า แต่เป็นการเตรียมบทเรียนล่วงหน้าแทน วันพรุ่งนี้จะเรียนเนื้อหาเรื่องอะไร มีการบ้านอะไรบ้างหรือไม่ ถ้าเป็นองค์ความรู้ที่ต่อเนื่องจากของเดิม ก็ต้องคิดด้วยว่าเรามีข้อสงสัยตรงไหนที่ต้องสอบถามกับอาจารย์ผู้สอนเพิ่มเติมหรือไม่ การทำแบบนี้เป็นการกระตุ้นในระดับจิตใต้สำนึก เพื่อให้เราพร้อมกับการเรียนมากขึ้นนั่นเอง อีกอย่างหนึ่งคือ ห้ามนั่งฟังเฉยๆ ระหว่างเรียนออนไลน์เป็นอันขาด ให้ฟังและจดบันทึกตามไปด้วย ต่อให้เวลานั้นยังไม่เข้าใจเพราะเนื้อหาค่อนข้างใหม่ แต่มันช่วยให้เราไม่คิดฟุ้งซ่านไปเรื่อยๆ กลับมาจดจ่ออยู่ที่การบันทึกข้อมูลตลอดเวลา ขณะที่จดก็ควรเลือกใช้ปากกาสีเพิ่มความจำด้วย ถ้าทำทั้งหมดนี้แล้วยังรู้สึกว่าง่วงเกินไป ก็ให้เพิ่มการเปิดดนตรีคลาสสิค หรือจะใช้เป็นกลิ่นอโรม่าที่ช่วยเรื่องการเรียนรู้ก็ได้ kor-kai.com แหล่งรวบรวมข้อมูล การศึกษาและความรู้ ที่หลากหลาย…

เรียนดี กิจกรรมเด่น ต้องรู้จักวิธีแบ่งเวลาและต้องมีวินัย

เรียนดี กิจกรรมเด่น ในแต่ละวัน เราต้องแบ่งเวลา อย่างไร?

เชื่อไหมว่าการเป็นเด็กเรียนดีนั้นทำได้ไม่ยาก แต่ถ้าอยากเก่งรอบด้านทั้ง เรียนดี กิจกรรมเด่น งานนี้ต้องรู้จักวิธีแบ่งเวลาและต้องมีวินัยในการทำตามแผนที่วางไว้ โดยต้องเริ่มจากพิจารณาก่อนว่า ตัวเราอยากจะเทน้ำหนักไปทางไหนมากกว่ากัน ระหว่างงานทางด้านวิชาการ อยากเป็นเด็กเรียนเก่ง ผลการเรียนยอดเยี่ยมทุกเทอม หรือด้านกิจกรรม อย่างพวกการเล่นกีฬา การทำชมรม การออกค่าย เป็นต้น ต้องการเป็นเด็ก เรียนดี กิจกรรมเด่น ต้องทำอย่างไร ถ้าเราต้องการให้ตัวเองเรียนดี กิจกรรมเด่นเมื่อเลือกแล้วให้เอาส่วนที่เป็นแกนหลักมาวางตารางก่อน สมมติเราเลือกให้การเรียนดีเป็นมุมเด่น แล้วให้การทำกิจกรรมเป็นมุมรอง หากต้องการเรียนดี กิจกรรมเด่นก็มาดูว่าตอนนี้มีรายวิชาไหนที่เป็นจุดแข็งและจุดอ่อน แยกวิชาออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มแรกที่เรียนได้ดีอยู่แล้ว ให้รักษาระดับด้วยการตั้งใจเรียนในห้อง จดโน้ตระหว่างเรียนหรือหลังจากทำการบ้าน พยายามจดโน๊ตให้สั้นกระชับ ไม่ต้องอธิบายละเอียดมากนัก ยิ่งถ้าวิชาไหนที่เรามีความชื่นชอบก็ยิ่งเรียนรู้ได้ง่าย และอาจไม่จำเป็นต้องจดโน๊ตอะไรเพิ่มเติมอีก แค่อ่านทบทวนเพียงเล็กน้อยในช่วงหัวค่ำก็พอ ส่วนกลุ่มวิชาที่ยังทำได้ไม่ดีนัก ก็จะต้องหาแนวทางในการเสริมองค์ความรู้ของรายวิชานั้นขึ้นมา เพราะเด็กเรียนดีจะต้องมีผลการเรียนของทุกรายวิชาไล่เลี่ยกัน อาจจะเป็นการเพิ่มชั่วโมงทบทวนเนื้อหา ให้เพื่อนที่เข้าใจวิชานั้นได้ดีช่วยอธิบาย ตรงไหนยังไม่เข้าใจก็ให้เดินเข้าไปหาอาจารย์ที่ปรึกษาโดยตรง ระหว่างเรียนรู้ก็ควรสังเกตตัวเองไปด้วยว่า การที่เราทำบางวิชาได้ไม่ดีมันมีปัญหาที่ตรงไหน จะได้แก้ไขให้ได้ผลลัพธ์แบบระยะยาวได้ด้วย เรียนดี กิจกรรมเด่นปกติแล้วเด็กเรียนดีจะต้องมีชั่วโมงเรียนรู้ด้วยตัวเองประมาณ 2-3 ชั่วโมงต่อวัน เพิ่มเติมจากการเรียนในห้องเรียน…