เป็นที่ทราบกันดีในตอนนี้ว่าประเทศไทยนั้นกำลังเผชิญหน้าอยู่กับสถานการณ์การแพร่ระบาดเชื้อไวรัส covid-19 ซึ่งนอกจากจะทำให้ประชาชนไม่สามารถใช้ชีวิตกันแบบปกติ และเศรษฐกิจของประเทศไทยซบเซาลงแล้ว ยังทำให้เกิดวิกฤตแห่งวงการการศึกษา ได้มีผลกระทบเข้าอย่างจังๆในช่วงสถานการณ์ covid-19 เหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็น การเปลี่ยนแปลงด้านการเรียน ไปเป็นใน รูปแบบการเรียนออนไลน์ หรือปิดโรงเรียนและสถานศึกษาต่างๆ เรียกได้ว่าผลกระทบจาก covid-19 ครั้งนี้ทำเอาประชาชนต้องเผชิญหน้าเข้ากับสถานการณ์ป้องกันกันแบบเต็มรูปแบบกันเลยทีเดียวค่ะ รูปแบบการเรียนออนไลน์ การเปลี่ยนแปลงด้านการเรียน ในยุคโควิดระบาด ตั้งแต่ช่วงปี 2563 จนถึง 2564 ทำให้ประเทศไทยนั้นต้องมีการเปลี่ยนแปลงด้านการเรียน เป็นอย่างมากในรูปแบบของการเรียนการสอนนั้นจากเดิมที่เคยสอนในห้องเรียนและเรียนในห้องเรียนตามการเรียนปกติก็ต้องมาเปลี่ยนแปลงเป็นการเรียนในรูปแบบการเรียนออนไลน์ กันในแต่ละวัน ซึ่งตอนนี้ทางข่าววงการศึกษาก็ได้มีข่าววงในออกมาว่าถ้าหากสถานการณ์ covid-19 ยังไม่ทุเลาลงอาจจะต้องมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอนให้มีหลักสูตรที่ค่อนข้างสมเหตุสมผลกับสถานการณ์ในตอนนี้ เพราะรูปแบบการเรียนออนไลน์ ก็มีข้อดีอย่างมาก แต่อย่างไรก็ตามการเรียนออนไลน์นั้นก็ยังคงมีข้อเสียอยู่บางข้อที่ทำให้นักเรียนและนักศึกษาหลายคนต้องพบเจอกับปัญหาการเรียนออนไลน์อย่างหลากหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นปัญหาทางด้านอินเทอร์เน็ต ปัญหาด้านการเรียนไม่เข้าใจ ซึ่งก็ยังคงต้องมีการปรับเปลี่ยนกันอยู่มากพอสมควรเกี่ยวกับวิกฤตวงการการศึกษาไทยในตอนนี้ อย่างไรก็ตามการเปลี่ยนแปลงด้านการเรียน กระทรวงการศึกษาและนักเรียนนักศึกษาหลายคนก็มีความหวังว่าสถานการณ์ป้องกันการแพร่ระบาดเชื้อไวรัส covid-19 จะทุเลาลงและสิ้นสุดในเร็วๆนี้เพื่อการกลับมาเรียนในรูปแบบปกติที่จะไม่ทำให้วงการการศึกษานั้นต้องพบกับวิกฤตแห่งวงการการศึกษา ที่มาในรูปแบบการเรียนออนไลน์ ของการเปลี่ยนแปลงในช่วงฤดูกาลนี้ แต่ตอนนี้ก็ยังมีการเฝ้าระวังมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส covid-19 อย่างต่อเนื่องด้วยการให้เรียนในรูปแบบออนไลน์จนถึงวันที่ 31 กรกฎาคมนี้ซึ่งเป็นประกาศล่าสุดนี้ค่ะ สำหรับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงด้านการเรียนต่อไปจะเป็นอย่างไรก็คงจะต้องคอยติดตามข่าวสารของศูนย์การเฝ้าระวังกันก่อนนะคะ แหล่งรวมทุกเรื่องราว การศีกษา เคล็ดลับการเรียน เคล็ดลับการอ่านหนังสือ หรือจะเป็น ข่าวสารทางราชการ สามารถติดตามได้ที่ kor-kai.com และที่สำคัญในวันนี้ต้องขอขอบคุณ 918kiss…
ในยุคที่เกิดโรคระบาด เข้ามาทำให้ชีวิตประจำวันของเราปั่นป่วนไปหมด อีกทั้งยังทำให้หลายๆคนไม่ได้ไปโรงเรียน หรือมหาวิทยาลัย เรียนออนไลน์ จึงเป็นทางออกหนึ่งที่นำมาใช้เพื่อแก้ปัญหา การรักษาระยะห่างระหว่างกัน แต่การเรียนออนไลน์นั้น ไม่ได้มีผลดีแค่อย่างเดียว แต่มีผลเสียอีกด้วย ยิ่งเรียนยิ่งเหนื่อย ! เรียนออนไลน์ยิ่งเรียนยิ่งเหนื่อย ซึ่งการ เรียนออนไลน์ นั้นจะเรียนผ่านระบบวิดีโอคอล ทำให้ทั้งครูและนักเรียนสามารถตอบโต้และมองเห็นกันได้ ผ่านโปรแกรมต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น Zoom หรือ Google Meet เราสามารถใช้งานผ่าน โทรศัพท์ โน้ตบุ๊ค ได้เลย การเรียนแบบนี้อาจจะดูเป็นเรื่องสบาย แต่ก็มีผู้เชี่ยวชาญออกมาบอกว่า การคุยกันผ่านช่องทางออนไลน์เป็นเวลานาน ไม่ว่ะจะเรียนหรือประชุม จะทำให้เราเหนื่อยมากกว่าปกติ เพราะการคุยผ่านวิดีโอคอล มันต้องใช้สมาธิสูงกว่าการคุยแบบเห็นหน้าตากันปกติ เวลาที่เราคุยกันนั้น เราไม่ได้ฟังแค่เสียงของอีกฝ่าย แต่เรามองสีหน้าและท่าทางของเขาด้วย การที่เราคุยกันแบบออนไลน์นี้ จะทำให้เราสังเกตได้ยากขึ้น เพราะเราต้องใช้ภาพวิดีโอที่ชัดเจน และเน็ตของเราต้องแรงในระดับหนึ่ง ถึงจะเห็นหน้าของคนที่เราคุยได้อย่างชัดเจน นั่นแปลว่า เราต้องใช้หลายสิ่งในการรับสารเพิ่มขึ้นอีก ก่อนหน้าที่จะเริ่มมีการเรียนออนไลน์ ก็มีการปิดเทอมใหญ่พอดี ซึ่งความรู้ที่เคยได้รับมาก็ถูกส่งคืนคุณครูไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ยิ่งมีการระบาดของไวรัสโควิด ยิ่งทำให้ห่างหายจากการเรียนไปนานมากกว่าเดิม เมื่อมีการทดลอง…
การศึกษาไม่ว่าจะยุคสมัยไหน ก็ยังเป็นเรื่องที่มีความสำคัญต่อเด็กทุกคน เปรียบเสมือนเป็นพื้นฐานของชีวิต ซึ่งเมื่อก่อนการศึกษามักจะเน้นศึกษาแนววิชาการเพียงอย่างเดียว อาจจะทำให้ไม่เหมาะสมกับพื้นฐานเด็กทุกคน จนอาจจะทำให้เด็กเกิดความเครียดสะสมในการเรียน ไม่มีความสุขได้ แต่เมื่อวันเวลาผ่านไปก็ได้มีการปรับเปลี่ยนระบบการศึกษาให้สอดคล้องกับเด็กแต่ละคนมากขึ้นกลายเป็น ซึ่งจะมีทั้งแบบแนววิชาการเช่นเดิม หรือจะเป็น การศึกษาแบบบูรณาการ ที่เน้นประยุกต์การเรียนให้เข้ากับเด็กแต่ละคน ซึ่งก็เป็นทางเลือกให้ผู้ปกครองได้เลือกแนวทางการศึกษาที่เหมาะสมเด็กๆ รูปแบบการศึกษาแบบบูรณาการ การศึกษาแบบบูรณาการ เป็นการศึกษาที่ไม่ได้มุ่งเน้นในเรื่องของวิชาการเพียงอย่างเดียว แต่เป็นการศึกษาที่จัดตามความสนใจ ความต้องการในการเรียนรู้ รวมถึงความสามารถของเด็กแต่ละคนให้เชื่อมโยงกับการศึกษาแนววิชาการเน้นให้เด็กกล้าคิด กล้าทำ กล้าแสดงออกถึงความเป็นตัวเองมากที่สุด ทำให้เด็กมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในด้านสติปัญญา ทักษะ และจิตใจ แต่ละคนสามารถช่วยเหลือตนเอง พร้อมกับแก้ปัญหาด้วยตนเองได้ดีกว่าในด้านการดำเนินชีวิตจริง ลักษณะของการศึกษาแบบบูรณาการ มีดังต่อไปนี้ การบูรณาการเชิงเนื้อหาสาระ เน้นให้เด็กใช้ความเชื่อมโยงจากหัวข้อเล็ก ไปจนถึงหัวข้อใหญ่ได้ การบูรณาการเชิงวิธีการ โดยจะให้ค้นหาข้อมูลด้วยตนเองหรือ ทำกิจกรรมเพื่อแสดงออกถึงความคิด เช่น การอภิปราย การโต้วาที เป็นต้น การบูรณาการความรู้กับกระบวนการเรียน เป็นการสอนให้มีกระบวนการคิด การแก้ปัญหา รวมถึงการสร้างความคิดแบบรวบยอด การบูรณาการความรู้ ความคิด กับคุณธรรม เป็นการให้ความรู้ควบคู่ไปกับคุณธรรม จริยธรรม การบูรณาการความรู้กับการปฏิบัติ…
ว่าด้วยเรื่องของการศึกษาในปัจจุบันไม่ว่าการใช้ชีวิตจะมีความเปลี่ยนแปลงไปมากมายแค่ไหน ด้วยยุคสมัยที่มีความแตกต่างจากเดิมและด้วยเทคโนโลยีที่เริ่มเข้ามามีบทบาทในเรื่องของการใช้ชีวิตมากขึ้น การศึกษาในรูปแบบใหม่ ๆ ก็ได้ดำเนินขึ้น วันนี้แอดอยากที่จะมาแนะนำ 3 การศึกษาแนวใหม่ ที่กำลังจะเกิดขึ้นในอนาคต เพื่อที่จะเสริมในเรื่องของความรู้ความเข้าใจและความสะดวกสบายในเรื่องของการเรียนให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น การศึกษาแนวใหม่ที่มาพร้อมกับเทคโนโลยี การศึกษาแนวใหม่ ในอนาคตที่แอดอยากจะแนะนำ รูปแบบการศึกษาแรก คือ Coding Literacy เป็นการเรียนในเรื่องของการศึกษาโค้ดและระบบการเขียนโปรแกรม ซึ่งความจริงและเป็นวิชาที่เกี่ยวของกับวิชาคอมได้ได้มีการศึกษาออกมาใหม่ว่าวิชา Coding Literacy ไม่ควรที่จะเป็นเนื้อหาที่อยู่ในวิชาคอมพิวเตอร์แต่เป็นวิชาที่ควรแยกออกมาสอนแบบหลัก ด้วยยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลง เพื่อการศึกษาในอนาคต การศึกษาแนวใหม่ ในอนาคตที่แอดอยากจะแนะนำ รูปแบบการศึกษาที่สอง คือ Student as Creators เป็นการศึกษาเพื่อสร้างให้นักเรียนเป็นคนที่มีความคิดสร้างสรรค์ เป็นการที่เราสร้างสรรค์สิ่งต่าง ๆ ให้กับผู้ที่เป็นฝ่ายรับ ซึ่งจะมีความเกี่ยวข้องในเรื่องของเทคโนโลยีที่เข้ามามีบทบาท เป็นเทรนด์การศึกษาที่เรามีการนำวิชาที่หัดให้เด็กได้มีความคิดที่ไม่ได้อยู่ในกรอบ ถือว่าดีต่ออนาคตมาก ๆ การศึกษาแนวใหม่ ในอนาคตที่แอดอยากจะแนะนำ รูปแบบการศึกษาที่สาม คือ Empathy and Emotion Understanding การศึกษาในรูปแบบใหม่ ๆ…